วันอาทิตย์ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2556

ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ( Review of Related Literatures )

.              ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ( Review  of Related Literatures )

rlc.nrct.go.th/ewt_dl.php?nid=710
การทบทวนวรรณกรรม: การศึกษา ค้นคว้าสารสนเทศที่กล่าวถึง หรือสัมพันธ์กับเรื่องที่ทำการวิจัย ซึ่งอาจจะปรากฏในรูปของสิ่งพิมพ์ต่างๆ หรือโสตทัศนูปกรณ์ต่างๆก็ได้
วัตถุประสงค์ของการทบทวนวรรณกรรม
1) แสวงหาพื้นฐานทางทฤษฎีของการวิจัย
2) บ่งบอกสถานภาพของการวิจัยในหัวข้อนั้นๆ
3) แสดงถึงความเป็น ผู้รู้ของนักวิจัย ก่อนทำวิจัย
4) สร้างนิยามปฏิบัติการของตัวแปรสำคัญ
5) กำหนดสมมุติฐานของการวิจัย
6) สร้างกรอบแนวคิดของการวิจัย
7) แสวงหาแนวคิดและประสบการณ์ เพื่อการออกแบบการวิจัย


hsmi.psu.ac.th/upload/forum/c2ResearchMethodology.pdf
การทบทวนวรรณกรรม หมายถึง การค้นคว้า ศึกษา รวบรวมและประมวลผลงานทางวิชาการ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ทำวิจัยทำให้ทราบถึง
1. ปัญหาวิจัย การออกแบบวิจัย
2. ทฤษฎี แนวคิด กรอบแนวคิด สมมติฐาน
3. ตัวแปร เครื่องมือวิจัย การสร้างและการตรวจสอบคุณภาพ
4. ประชากร กลุ่มตัวอย่างและการเลือก/สุ่มตัวอย่าง
5.การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล
6. ผลการวิจัย
ประโยชน์ของการทบทวนวรรณกรรม
7.ช่วยมิให้ทำวิจัยในเรื่องที่มีผู้ได้ทำการศึกษาวิจัยมาอย่างเพียงพอแล้ว
8.ช่วยให้กำหนดปัญหาและสมมติฐานในการวิจัยได้ถูกต้องเหมาะสม
9.ทราบถึงวิธีการศึกษาที่ทำมาในอดีตและช่วยให้ออกแบบงานวิจัยได้เหมาะสม
10.ทำให้ทราบถึงปัญหาความยุ่งยากของการวิจัย
11.ทำให้ทราบว่าแหล่งความรู้อยู่ที่ไหนบ้าง
12.ช่วยเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างข้อค้นพบในอดีตและเชื่อมโยงทฤษฎีแนวความคิดในอดีตกับข้อมูลปัจจุบัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการสะสมความรู้


www.rtncn.ac.th/pdf/research/research2.pdf
การศึกษาเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยต่างๆที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อเรื่อง หรือประเด็นปัญหา
การวิจัยจากวารสารหนังสือ ตำรา รายงานการวิจัยวิทยานิพนธ์ ฯลฯ
จุดมุ่งหมายของการทบทวน
1. รวบรวมแนวคิดในการตั้งปัญหาการวิจัย
2. มีความรอบรู้ในข้อเท็จจริงที่เป็นที่ยอมรับ
3. การเตรียมกรอบทฤษฎีในการวิจัย
4. ประเมินความเป็นไปได้ในการทำวิจัย
5. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการ และเครื่องมือวิจัย
6. ศึกษาผลงานวิจัยที่ทำมาแล้ว
7. สร้างความคุ้นเคยกับวิธีการศึกษา และข้อมูล


                สรุป การศึกษาเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยต่างๆที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อเรื่อง หรือประเด็นปัญหาการวิจัยจากวารสารหนังสือ ตำรา รายงานการวิจัยวิทยานิพนธ์ ฯลฯ
จุดมุ่งหมายของการทบทวน
1. รวบรวมแนวคิดในการตั้งปัญหาการวิจัย
2. มีความรอบรู้ในข้อเท็จจริงที่เป็นที่ยอมรับ
3. การเตรียมกรอบทฤษฎีในการวิจัย
4. ประเมินความเป็นไปได้ในการทำวิจัย
5. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการ และเครื่องมือวิจัย
6. ศึกษาผลงานวิจัยที่ทำมาแล้ว
7. สร้างความคุ้นเคยกับวิธีการศึกษา และข้อมูล
ประโยชน์ของการทบทวนวรรณกรรม
7.ช่วยมิให้ทำวิจัยในเรื่องที่มีผู้ได้ทำการศึกษาวิจัยมาอย่างเพียงพอแล้ว
8.ช่วยให้กำหนดปัญหาและสมมติฐานในการวิจัยได้ถูกต้องเหมาะสม
9.ทราบถึงวิธีการศึกษาที่ทำมาในอดีตและช่วยให้ออกแบบงานวิจัยได้เหมาะสม
10.ทำให้ทราบถึงปัญหาความยุ่งยากของการวิจัย
11.ทำให้ทราบว่าแหล่งความรู้อยู่ที่ไหนบ้าง
12.ช่วยเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างข้อค้นพบในอดีตและเชื่อมโยงทฤษฎีแนวความคิดในอดีตกับข้อมูลปัจจุบัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการสะสมความรู้



อ้างอิง
rlc.nrct.go.th/ewt_dl.php?nid=710   เข้าถึงเมื่อ22/11/55.
hsmi.psu.ac.th/upload/forum/c2ResearchMethodology.pdf   เข้าถึงเมื่อ22/11/55.
www.rtncn.ac.th/pdf/research/research2.pdf  เข้าถึงเมื่อ22/11/55.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น